บทที่ 10
ภวะสผุด (ทีฆันดรของเรือน)
78. ภวะหรือเรือน ภวะในวิธีของภารตะหมายถึง 1 ใน 3 ในเรขาของสุริยวิถีที่ตัดเขตระหว่างมุมใกล้เคียง 2 มุม คืออุทัยลัคน์ (ขอบฟ้าตะวันออก) ปาดาละลัคน์ (ศูนย์เที่ยงต่ำ) อัสตลัคน์ (ขอบฟ้าตะวันตก) และมัธยลัคน์ (ศูนย์เที่ยงสูง)
79. ภวะมัธย จะดของตรีภาคของเรขาแห่งสุริยวิถีที่กล่าวมามาแล้วนั้นได้แก่ภวะมัธยหรือศูนย์กลางของภวะ
80. เกณฑ์ภวะ ได้แก่เรือนมุมทั้ง 4 ในดวงชะตา คืออุทัยลัคน์ ปาตาละลัคน์ อัสตลัคน์ และมัธยลัคน์ เรือนมุมทั้ง 4 นี้เป็นความสำคัญในโหราศาสตร์.
81. พิจารณาเกณฑ์ภวะ ใน 2 บทที่แล้วมาได้จำแนกวิธีพิจารณาหาลัคน์และศูนย์กลางของเวหา เกณฑ์ภวะทั้ง 2 อัสตลัคน์ (ขอบฟ้าตะวันตก) และปาตาละลัคน์ หรือ ระสาตะละลัคน์ (ศูนย์เที่ยงต่ำ) มีวิธีพิจารณาหาดังนี้ :
กฎ 1 อุทัยลัคน์ (กำเนิดหรือลัคน์ที่ขอบฟ้าตะวันออก) + 180° = อัสตลัคน์ (ลัคน์ที่ขอบฟ้าตะวันตก)
กฎ 2 มัธยลัคน์ + 180 = ระสาตะละลัคน์ (หรือศูนย์เที่ยงสูง + 180 ศูนย์เที่ยงต่ำ)
ตัวอย่าง 15 หา ทีฆ. ของอัสตลัคน์และปาคารละลัคน์ในชะตาตัวอย่าง.
อุทัยลัคน์ 294° 57'
มัธยลัคน์ 214° 54'
ตามวิธีของกฎที่ 1
294° 57' - 180° = 114° 57' (หักออก 360°)
52 โหราวิทยา
ตามวิธีของกฎที่ 2
214° 54' + 180° = 34° 55' (หักออก 360)
ฉะนั้นอัสตลัคน์ = 114° 57' ปาตาละลัคน์ = 34° 55 :
82. เรือนสามัญ (ไม่ใช่เรือนมุม) เรือนสามัญเป็นเรือนระหว่างเรือนมุม เรือนที่ 1 (ลัคน์ขอบฟ้าตะวันออก) เรือนที่ 4 (ศูนย์เที่ยงต่ำ) เรือนที่ 7 (ขอบฟ้าตะวันตก) และเรือนที่ 10 (ศูนย์เที่ยงสูง) ที่เหลืออยู่คือเรือนที่ 2 3 5 6 8 9 11 12 ไม่ใช่เรือนมุมเป็นเรือนสามัญ หรือเรียกว่าปันะปะระภวะและอโภกสิมะภวะ (ดูข้อ 22 และ 23) มัธยของเรือนเหล่านี้เป็นจะดของตรีภาคเกี่ยวแก่ข้อ 77 และ 78.
83. ภวะมัธยของเรือนสามัญ ในภวะจักรมีมุม 4 มุมหาได้แน่นอน โดยพิจารณาเรขาของสุริยวิถีระหว่างมุมทั้ง 4 คือ (ก) เราขาระหว่างขอบฟ้าตะวันออก (1) และศูนย์เที่ยงต่ำ (4) (ข) ระหว่างศูนย์เที่ยงต่ำ (4) และขอบฟ้าตะวันระหว่างศูนย์เที่ยงสูง (9) และขอบฟ้าตะวันตก (1)
มัธยลัคน์ (ศูนย์เที่ยงสูง)
|
||||
|
||||
ภวะสผุด(ทีฆันดรของเรือน 53
(ลัคน์ปาตาละ ศูนย์เที่ยงต่ำ)
1 4 7 9 = เรือนมุม ก ข ค ง = เรขาของสุริยวิถี.
ตรีภาคของเรขาได้แก่ เช่นตรีภาคของเราขา ก = ก หรือ ก / 3 เอาจำนวนนี้บวกเข้ากับทีฆ. ของภวะมัธยของอุทัยลัคน์จะได้ภวะ 2 (มัธย) เอา ก / 3 บวกกับทีฆ. ของภวะ 2 ได้ภวะ 3 อีกตรีภาคของเรชา ข = ข / 3 เอา ข / 3 บวกกับทีฆ. ของปาตาละลัคน์ได้เป็นภวะ 5 ในวิธีเดียวกันทำต่อไปในเรขาอื่น ๆ เพื่อให้ได้มัธยของเรือนต่อไป เรขาทั้ง 4 หาได้ด้วยวิธีต่อไปนี้ :
เรขา ก. ทีฆ. ของศูนย์เที่ยงต่ำ – ทีฆ. ของขอบฟ้าตะวันออก.
เรขา ข. ทีฆ. ของขอบฟ้าตะวันตก – ทีฆ. ศูนย์เที่ยงต่ำ.
เรขา ค. ทีฆ. ของศูนย์เที่ยงสูง – ทีฆ. ของขอบฟ้าตะวันตก.
เรขา ง. ทีฆ. ของขอบฟ้าตะวันออก – ทีฆ. ของศูนย์เที่ยงสูง.
ตัวอย่าง 16 หาเรขาของสุริยวิถีระหว่างมุมทั้ง 4 ในชะตาตัวอย่าง.
เรขา ก. = 34° 45' - 294° 57' = 99° 58' (เอา 360° + 34° ก่อน)
เรขา ข. = 114° 57' - 34° 55' = 80° 2'
เรขา ค. = 214° 55' - 114° 57' = 99° 58'
เรขา ง. = 294° 57' - 214° 55' = 80° 2'
ก. - 99° 58' , ข. = 80° 2' , ค. = 99° 58' , ง. = 80° 2'
(เรขา ก = ค และ เรขา ข = ง)
ตัวอย่าง 17 หาภวะมัธยของเรือนสามัญในชะตาตัวอย่าง.
ทีฆ. ของอุทัยลัคน์ 294° 57'
|
|
เรขา ก. 99° 58'
|
ตรีภาคเรขา ก. ได้ = = 33° 19'
54 โหราวิทยา
ฉะนั้น 294° 57' + 33° 19' 19' = 328' 16' = ภวะ 2
328' 16' + 33 19' = 361° หรือ 1° 35' = ภวะ 3
ทีฆ. ของศูนย์เที่ยงต่ำ 34° 55'
|
|
เรขา ข. 80° 2'
|
ตรีภาคเรขา ข. ได้ = = 26° 40'
ฉะนั้น 34° 55' + 26° 40' = 61° 35' = ภวะ 5
61° 35' = 26° 40' = 88° 16' = ภวะ 6
ทีฆ. ของขอบฟ้าตะวันตก 115° 57'
|
|
เรขา ค. 99° 58'
|
ตรีภาคเรขา ค. ได้ = = 33° 19
ฉะนั้น 114° 57' + 33° 19' 19' = 148' 16' = ภวะ 8
148° 16' + 33° 19' = 181° 35' = ภวะ 9
ทีฆ. ของศูนย์เที่ยงต่ำ 214° 55'
เรขา ง. 80° 2'
|
|
|
เรขา ง. ได้ = = 26° 40'
ภวะสผุด(ทีฆันดรของเรือน 55
ฉะนั้น 214° 55' + 26° 40' = 241° 35' = ภวะ 11
241° 35' + 26° 40' = 268° 16' = ภวะ 12
ตัวอย่าง 18 ภวะสผุดในชะตาตัวอย่าง
1. ลัคน์หรือตนุภวะ 294° 57' 0" สผุด (ทีฆ)
2. ธนะภวะ 328 16 20 ,,
3. ภราตรุภวะ 1 35 40 ,,
4. มาตรุภวะ 34 55 0 ,,
5. ปุตระภวะ 61 35 40 ,,
6. ศัตรูภวะ 48 16 20 ,,
7. กัลป์ตระภวะ 114 57 0 ,,
8. อายุรภวะ 148 16 20 ,,
9. ธรรมภวะ 118 35 40 ,,
10. กรรมภวะ 214 35 0 ,,
11. ลาภะภวะ 241 35 40 ,,
12. วรัยะภวะ 268 16 20 ,,
84. ภวะสนธิ ภวะสนธิเป็นจุดร่วมของภวะที่อยู่เรียงกัน กำลังของภวะจะมีเต็มที่ในภวะมัธย และดังนั้นจะต้องมีจุดเริ่มต้นและจุดสุดท้าย อิทธิพลของดาวเคราะห์จะค่อย ๆ สูงขึ้นทีละเล็กละน้อยจนถึงสูงสุดที่ภวะมัธย เมื่อถึงภวะมัธยแล้วจะลดลงทีละเล็กละน้อย จากภวะมัธยจนกว่าจะหมดอิทธิพลที่ภวะสนธิ ที่หรือจุดที่กำลังอิทธิพลของภวะเริ่มต้นเป็นอารัมภะสนธิ และหรือที่จุดสุดท้ายของกำลังพลเป็นวิรามะสนธิ อารัมภะสนธินับว่าเป็นจุดแรกของเรือนด้วย และวิรามะสนธิเป็นจุดสุดท้าย เช่นอารัมภะสนธิของเรือนที่ 1 เป็นวิรามะสนธิของเรือนที่ 12 โดยนัยเดียวกัน
56 โหราวิทยา
นี้วิรามะสนธิของเรือนที่ 1 จะเป็นจุดสุดท้ายของลัคน์และเป็นอารัมภะสนธิของเรือนที่ 2 และต่อ ๆ ไป หรือนัยหนึ่งว่าสนธิของภวะไหนเป็นจุดเริ่มกำลังอิทธิพลของภวะนั้น และเป็นจุดสุดท้ายเป็นที่สิ้นสุดอิทธิพลของภวะที่แล้วมา.
เพื่อจะได้รู้ที่เกิดผลแน่นอนของอิทธิพลจากดาวเคราะห์ เช่นผลของที่สถิตของดาวเคราะห์ในภวะหนึ่ง ๆ เป็นการจำเป็นที่จะต้องพิจารณาสนธิของภวะต่าง ๆ
85. พิจารณาหาภวะสนธิ เอาทีฆ. ของ 2 ภวะที่อยู่เรียงกันบวกกัน แล้วเอา 2 หารผลลัพธ์เป็นสนธิ เช่นในชะตาตัวอย่าง ทีฆ. ของภวะที่ 1 และที่ 2 บวกกันแล้วเอา 2 หาร.
294° 57' 0" + 378° 16' 20" = 673° 13' 20"
2 2
= 311° 36' 40" คือ ราศีกุมภ์ 11° 36' 40" เป็นจุดสนธิระหว่างเรือนที่ 1 และเรือนที่ 2 หรือวิรามะสนธิของเรือนที่ 1 ที่ 3 11° 36' 40" และอารัมภะสนธิของเรือนที่ 2 ที่ 3 11° 36' 40"
ตัวอย่าง 19 หาทีฆ. ของอารัมภะสนธิของภวะทั้ง 12 ในชะตาตัวอย่าง.
เรือนที่ 1 = (268° 16' 20" + 294° 57' 0" ) ÷ 2 = 281° 36' 40"
เรือนที่ 2 = (294° 57' 0" + 328° 16' 20" ) ÷ 2 = 311° 36' 40"
เรือนที่ 3 = (328° 16' 20" + 1° 35' 40" ) ÷ 2 = 344° 56' 0"
เรือนที่ 4 = (1° 35' 40" + 34° 55' 0" ) ÷ 2 = 18° 15' 20"
เรือนที่ 5 = (34° 55' 0" + 61° 35' 40" ) ÷ 2 = 48° 14' 20"
เรือนที่ 6 = (61° 35' 40" + 88° 16' 20" ) ÷ 2 = 74° 56' 0"
ภวะสผุด(ทีฆันดรของเรือน 57
เอา 180 บวกเข้ากับอารัมภะสนธิของเรือนที่ 1 2 3 4 5 6 ถ้าจำนวนไหนได้มากกว่า 360° เอา 360° ลบ ได้เป็นอารัมภะสนธิของเรือนที่ 7 8 9 10 11 12 ตามลำดับ.
อารัมภะ มัธย และอันตย ของภวะได้ดังนี้ :
ภวะ อารัมภะ มัธย อันตย
1. 281° 36' 40" 294° 57' 0" 1.11° 36' 40"
2. 311 36 40 328 16 20 344 56 0
3. 344 56 0 1 35 40 18 15 20
4. 17 15 20 34 55 0 48 15 20
5. 48 15 20 61 35 40 74 56 0
6. 74 56 0 88 16 20 101 36 40
7. 101 36 40 114 57 0 131 36 40
8. 131 36 40 147 16 20 164 56 0
9. 164 56 0 181 35 40 198 15 20
10. 198 15 20 214 55 0 228 15 20
11. 228 15 20 241 35 40 254 56 0
12. 254 56 0 268 16 20 281 36 40
86. บูรพาและอุตตระภาคของภวะ บูรพาภาคเป็นส่วนของภวะที่ขึ้นสู่เส้นขอบฟ้าทีแรก และอุตระภาคเป็นส่วนที่ขึ้นต่อมา หาได้ดังนี้ :
กฎ 1. บูรพาภาคของภวะ = ทีฆ. ของภวะมัธย - ทีฆ. ของอารัมกะสนธิ.
กฎ 2. อุตตระภาคของภวะ = ทีฆ. ของวิรามะสนธิ - ทีฆ. ของภวะมัธย.
กฎ 3. ระยะของ 1 ภวะ = ระยะของบูรพาภาค + ระยะของอุตตระภาค.
ตัวอย่าง 20 บูรพาและอุตตระภาคกับระยะของแต่ละภวะในชะตาตัวอย่าง.
58 โหราวิทยา
ภวะ บูรพาภาคของภวะ อุตตระภาคของภวะ ระยะของภวะ
1. 13° 20' 20" 16° 39' 40" 30° 0' 0"
2. 16 39 40 16 39 40 33 19 0
3. 16 39 40 16 39 40 33 19 20
4. 16 39 40 13 20 20 30 0 0
5. 13 20 20 13 20 20 26 40 40
6. 13 20 20 13 20 20 26 40 40
7. 13 20 20 16 39 40 33 0 0
8. 16 39 40 16 39 40 33 19 20
9. 16 39 40 16 39 40 33 19 20
10. 16 39 40 13 20 20 30 0 0
11. 13 20 20 13 20 20 16 40 40
12. 13 20 20 13 20 20 26 40 40
180 0 0 180 0 0 360 0 0