หมวด: โหราวิทยา เล่ม 3 ดาราศาสตร์ของโหราศาสตร์
จำนวนผู้อ่าน: 7582

บทที่ 7

เคราะห์สผุด  (ทีฆันดรของดาวเคราะห์)

˜

66.  วิธีหาเคราะห์สผุด ถ้าปฏิทินนั้นใช้ได้เหมาะแก่ท้องถิ่นที่เกิด  และปฏิทินนั้นเป็นปฏิทินที่แสดงรายการ  ที่สถิตของดาวเคราะห์ถูกต้องหรือใกล้เคียงกับความเป็นจริงมากที่สุด  ก็ไม่มีปัญหาอย่างอื่น ๆ.

หาวันเกิดในปฏิทินและจดรายการต่าง ๆ ในวันนั้นไว้  ถ้าในวันนั้นไม่ปรากฏดาวเคราะห์ยก   ให้หาย้อนหลังไปจนถึงวันที่ดาวเคราะห์ยกในวันที่ใกล้กับวันเกิดที่สุดจะพบที่สถิตของดาวเคราะห์  เป็นนักษัตรบาท  และเวลา (มหานาที)  ที่ดาวเคราะห์โคจรล่องเข้าในนักษัตรบาท  หาเวลาที่ดาวเคราะห์เดียวกันนี้โคจรเข้าในบาททั้ง 2 นี้  และจดจำนวนมหานาทีระหว่างที่ดาวเคราะห์ล่วงเข้าบาทแรกและเวลาเกิดด้วย  แล้วทำตามกฎต่อไปดังนี้ :

กฎ (ก) สำหรับดาวเคราะห์ทั่วไป.

X   3  =  จำนวนองศาในบาทนั้น

มหานาทีระหว่างเข้าบาทแรกและเวลาเกิด

มหานาทีระหว่าง 2 บาท.

กฎ (ข) สำหรับดาวเคราะห์จันทร์.

X  30  =  จำนวนองศาในบาทนั้น

มหานาทีระหว่างองศาแรกของราศีและเวลาเกิด

มหานาทีที่โคจรสำหรับใน 1 ราศี.

ได้เท่าไรเอาจำนวนนี้บวกเข้ากับองศาของดาวเคราะห์  ที่จะโคจรเข้าบาทแรก  ผลเป็นนิรายะทีฆันดร.

ตัวอย่าง  10 หานิรายะนะทีฆ. ของดาวเคราะห์ในชะตาตัวอย่าง  ปฏิทินปี พ.ศ. 2462 มีรายการดังนี้ :

วันที่ 13 ตุลา 62  อาทิตย์เข้าบาทที่ 2 ของจิตตะ  เวลา 51 / 54 มหานาที.


เคราะห์สผุด (ทีฆันดรดาวเคราะห์) 37


วันที่ 17 ตุลา 62 อาทิตย์เข้าบาทที่ 3 ของจิตตะ เวลา 12 / 18 มหานาที.

ดังนั้นระยะเวลาที่อาทิตย์จะต้องโคจรตลอด 1 บาท  หรือ 3 องศาของเรขาในท้องฟ้าได้ดังนี้ :

มหา  วิมหา

นาที  นาที

วันที่ 13 ตุลา    8        6 (อาทิตย์เข้าบาทที่ 2 เมื่อเวลา 51 / 54  เอา

วันที่ 14 ตุลา    60      -  เวลานี้ไปลบ 60 มหานาที  ซึ่งเป็นเวลาใน 1

วันที่ 15 ตุลา    60      -  วันคงได้เวลาในวันที่ 13 ตุลา 8 / 6)

วันที่ 16 ตุลา    60      -

วันที่ 17 ตุลา    12    10

รวมเป็นเวลา  200   16  หรือ 12016 วิมหานาที.

เวลาที่อาทิตย์โคจรเข้าบาทที่ 2 ของจิตตะ  (ซึ่งเป็นเวลาที่ใกล้ที่สุดแก่เวลาเกิด)  ถึงเวลาเกิด.

มหา  วิมหา

นาที  นาที

วันที่ 13 ตุลา    8        6

วันที่ 14 ตุลา    60      -

วันที่ 15 ตุลา    60      -

วันที่ 16 ตุลา    20      -    (เวลาเกิดในวันที่ 16 ตุลา)

รวมเป็นเวลา  148   21  หรือ 18901 วิมหานาที.

X  3  =  (8901 X 10 ÷ 3) ÷ 120  16

ตามกฎ (ก) 8901

12016

8901 X 10 ÷ 3  =  89010 ÷ 3  =  29670

29670 ÷ 12016  =  2  เป็นองศา  เศษ 5638

38                                                                   โหราวิทยา


(5638 X 60) ÷ 12016 = 28  เป็นลิปดา  เศษ 1872

(1872 X 60) ÷ 12016 =   9 เป็นพิลิปดา.

X  3  =  2 องศา  28 ลิปดา  9 พิลิปดา  จำนวนนี้เป็นจำนวนที่

8901

12016

อาทิตย์ล่วงเข้าในบาทที่ 2 ของจิตตะ 3 บาทสุดท้ายของอุตระ 4 บาทของหัสตะและ 2 บาทแรกของจิตตะ  ร่วมกันประกอบเป็นราศีกันย์  ตั้งแต่ต้นบาทที่ 2 ของอุตระถึงที่สุดในบาทที่ 1 ของจิตตะ  ได้จำนวนของบาทและองศาดังนี้ :

อุตระ   3  บาท

หัสตะ  4  บาท

จิตตะ   1  บาท

รวม     8  บาท  หรือ X 8 = 26 องสา  40 ลิปดา.

เอาจำนวนนี้บวกเข้ากับจำนวนองศาที่ล่วงเข้าในบาทที่ 2 ของจิตตะ  คือ 2° 28'   8"   +  26° 8'    ในราศีกันย์ =  179° 8'    จากองศาที่ 1 ของราศีเมษ

จันทร.                                                    มหา  วิมหา

นาที  นาที

วันที่ 14 ตุลา ในสราวะนะ                                59      21

เหลือจากสราวะนะมาอยู่ในธนิษต                   0       39  (เอา 59 / 21 ลบ 60)

วันที่ 15 ตุลา  อยู่ในธนิษัต                                57       14

เหลือจากสราวะนะ                                              0       39

เวลาที่อยู่ในธนิษต                                               57       53

15 ตุลา  เหลือจากธนิษตมาอยู่ในสัตภิษ          2       46  (เอาลบ 57 / 14  ลบ 60)

16 ตุลา  อยู่ในสัตภิษ                                          54       19

เวลาที่อยู่ในสัตภิษ                                               57         5

เคราะห์สผุด (ทีฆันดรดาวเคราะห์) 39


16 ตุลา  เหลือจากสัตภิษมาอยู่ในบูรพาภัทร์     5       41  (เอา 54 / 19 ลบ 60)

17 ตุลา  อยู่ในบูรพาภัทร์                                      50       48

เวลาที่อยู่ในบูรพาภัทร์                                          56       29

ราศีกุมภ์ประกอบด้วย 2 บาทสุดท้ายของธนิษต 4 บาท ของสัตภิษ 3 บาท แรกของบูรพาภัทร์.

=   (57 / 53) + ( 57 / 5) +  (56 / 29)

=  2 บาทของธนิษต + 4 บาทของสัตภิษ + 3 บาทของบูรพาภัทร์.

4  บาทของธนิษต = 57 / 53, 2 บาท = 57 / 53 ÷ 2                    = 28      57

4  บาทของธนิษต = 57 / 5                                                                  57        5

4  บาทของบูรพาภัทร์ = 56 / 29, 3 บาท = 56 / 29 ÷ 4 X 3    = 42      21

เวลาที่จันทร์โคจรตลอดราศีกุมภ์                                                      128     23

ระยะเวลาระหว่างตั้งแต่จันทร์เริ่มขึ้นองศาที่ 1 ของราศีกุมภ์และเวลาเกิดหาได้ดังต่อไปนี้:  (57 / 58) + (23 /1)

(57 / 53) = 57 / 53 ÷ 2 =  28 / 56.5 + 23 / 1 = 51 / 57.5

15 ตุลา  จันทร์ขึ้นบาทที่ 2 ของธนิษตหรือองศาที่ 1 ของราศีกุมภ์  และมีเวลาอยู่ในบาททั้ง 2 ของธนิษต                                                                                                      28      56.5

เวลาที่เหลือจากธนิษตถึงสิ้นวัน ๆ ที่ 15 ตุลาคม                              2      46

วันที่ 16 ตุลา  เกิดเวลาหรือเวลาเกิด                                              20      15

= 51      57.5

หรือ 51      57

30° X

ทำตามกฎ (ข)   51 / 57

128 / 23

(51 X 60 + 57) X (30 X 60) ÷ (128 X 60 + 23) = ลิปดา.

= 3117 X 1800 ÷ 7703 = ลิปดา.

40                                                                   โหราวิทยา


32117 X 1800 = 5600 = 600

5610600 ÷ 7703 = 728 ลิปดา  เศษ 2816

728 ÷ 60 = 12 เป็นองศา  เศษ 8

เศษ 8 เป็น ลิปดา = 8 ลิปดา

(เศษ 2816 X 60) ÷ 7703 = 22  เป็นพิลิปดา  (ปัดเศษขึ้น)

ทีฆ. นิรายะนะของจันทร์ได้ 12° 8'   22"      ในราศีกุมภ์  คือ 312° 8'   22"    จากองศาที่ 1 ของราศีเมษ.

67.  ทีฆ. นิรายะนะของดาวเคราะห์ เมื่อได้คำนวณตามวิธีนี้แล้ว  ได้ทีฆ. นิรายะนะของดาวเคราะห์ดังนี้ :

ดาวเคราะห์                                          สผุด       (ทีฆ. ของดาวเคราะห์)

อาทิตย์                                                   179    องศา     8    ลิปดา

จันทร์                                                     312       ,,        8        ,,

อังคาร                                                    229       ,,        49      ,,

พุธ                                                          380       ,,        33      ,,

พฤหัสบดี                                                83       ,,        35      ,,

ศุกร์                                                        170       ,,          4      ,,

เสาร์                                                       124       ,,        51      ,,

ราหู                                                        233       ,,        23      ,,

เกตุ                                                         53         ,,        23      ,,

วิธีที่ได้นำมาแสดงเป็นตัวอย่างนี้  เพื่อให้นักศึกษาได้รู้วิธีหาสผุดดาวเคราะห์ของภารตะ  ซึ่งเป็นวิธีที่ถือเอระยะเวลาที่ดาวเคราะห์โคจรผ่านบาทต่าง ๆ ของนักษัตรเป็นหลัก  รายการเวลาที่ดาวเคราะห์โคจรเข้าในเขตของบาทแห่งนักษัตรมีในปฏิทินโหราศาสตร์ภาระตะ  ถ้าใช้ปฏิทินแบบโหราศาสตร์สยาม  ก็ให้หาสผุดดาวเคราะห์ตามวิธีในโหราวิทยาเล่ม 1 จะได้ผลอย่างเดียวกัน.