Website แห่งแรกและแห่งเดียวในเมืองไทย ที่ให้บริการฤกษ์ยามชั้นสูงของโหราศาสตร์ภารตะจากคัมภีร์พระเวทของพราหมณ์อันศักดิ์สิทธิ์ และได้ผลตอบรับดีสูงสุดเป็นปีที่ 15 แล้ว WebSite ของเราให้การปกป้องข้อมูลส่วนบุคคลของคุณในระดับสูงสุด ด้วยเทคโนโลยีชั้นสูงจากยุโรป "SiteGuarding" บริการดูฮวงจุ้ย แก้ฮวงจุ้ย เสริมฮวงจุ้ย ด้วยประสบการณ์กว่า 30 ปี***

บทที่ 2

ข้อสำคัญขั้นต้นบางอย่าง

˜

9. ราศีและระยะของราศี

1  เมษ                    ระยะ  0 – 30                       องศา  7   ตุลย์                      ระยะ  180 – 210  องศา

2  พฤษภ                        30 – 60                         ,,     8   พฤศจิก                 ,,      210 – 240     ,,

3  มิถุน                        60 – 90                       ,,     8   ธนู                       ,,      240 – 270     ,,

4  กรกฎ                      90 – 120                     ,,     10   มกร                   ,,      270 – 300     ,,

5  สิงห์                      120 – 150                      ,,     11  กุมภ์                     ,,      300 – 330     ,,

6  กันย์                      150 – 180                      ,,     12  มีน                       ,,       330 – 360    ,,

10.  นักษัตรและระยะของนักษัตร

ราศี                                         นักษัตร                                  บาท                                        ระยะจาก 0 เมษ

องศา    ลิปดา

1  เมษ                                    1  อัสวิณี                                 4                                                 13        20

2  ภาระณี                               4                                                 26        40

3  กฤติกา                                1                                                 30        00

2  พฤษภ                                   กฤติกา                                3                                                 40        00

4  โรหิณี                                 4                                                 53        20

5  มฤคศิระ                             2                                                 60        00

3  มิถุน                                      มฤคศิระ                            2                                                 66        40

6  อริทระ                                4                                                 80        00

7  ปุณระวาสุ                          3                                                 90        00

4  กรกฎ                                                   ปณระวาสุ                           1                                                 93        20

8  ปุษยะมิ                               4                                               103        40

9  อัลเลษะ                              4                                               120        40


ข้อสำคัญขั้นต้นบางอย่าง 7


ราศี                                         นักษัตร                                  บาท                                        ระยะจาก 0 เมษ

องศา    ลิปดา

5  สิงห์                                  10  มาฆะ                                4                                                133        20

11  ปุพพะ                              4                                                146        40

12  อุตตระ                              1                                                150        00

6  กันย์                                         อุตตระ                             3                                                160        00

13  หัสฎะ                               4                                                173        20

14  จิตตะ                                2                                                180        00

7  ดุลย์                                         จิตตะ                                2                                                186        40

15  สวาดิ                                 4                                                200        00

16  วิลาขะ                              3                                                210        00

8  พฤษศจิก                                 วิสาขะ                            1                                                213        20

17  อนุราช                             4                                               226        00

18  เขษฏะ                              4                                                240        20

9  ธนู                                     19  มูละ                                               4                                               253        20

20  บูระพาษาธ                      4                                                266        40

21  อุตตราษาธ                       1                                                270        00

10 มกร                                        อุตตราษาธ                      3                                                280        00

22  สราวะนะ                        4                                                293        20

23  ธานิษฏะ                          2                                                300        00

11 กุมภ์                                       ธนิษฏะ                           2                                                306        40

24  สัตภิษ                               4                                                320        00

25  บูระพาภัทร์                     3                                                330        20

12  มีน                                       บูระพาภัทร์                    1                                                333        20

26  อุตตราภัทร์                      4                                                346        40

27  เรวะดี                               4                                                360        00

8                                                                    โหราวิทยา


จะเห็นได้ตามรายการข้างบนนี้ว่า  มีกลุ่มดาวนักษัตร 27 กลุ่มประกอบเข้าในราศีทั้ง 12 ราศีเช่นราศีเมษเป็นต้น  ในราศีเมษมีบาททั้ง 4 ของกลุ่มดาวนักษัตรอัสวิณี (13°20'  )  บาททั้ง 4 ภาระณี (13°20'  )  และ 1 บาทของกฤติกา (13°20'  )   ทั้งหมดรวมกันเป็น 9 บาท (30°)  ประกอบร่วมกันได้ 1 ราศี ยังอีก 3 บาทของกฤติกาที่เหลือจากราศีเมษ (ได้ 10°)  4บาทของโรหิณี (13°20'  )

2 บาทของมฤคศิระ (6°40'  )  ร่วมกันได้ราศีพฤษภและต่อ ๆ ไป  รายการระยะ 2 บาทของมฤคศิระ (6°40'  )  ร่วมกันได้ราศีพฤษภและต่อ ๆ ไป  รายการระยะนักษัตรบาทนี้นักศึกษาต้องรู้และเข้าใจ  เพื่อประโยชน์ไว้พิจารณาร่วมกับสิ่งอื่นในบทต่อไป.

11.  ราศีเคลื่อนไหว (จรราศี)  ได้แก่ราศี  เมษ  กรกฎ  ตุลย์  มกร.

12.  ราศีคงที่ (สถิระราศี)  ได้แก่ราศี  พฤษภ  สิงห์  พฤศจิก  กุมภ์.

13.  ราศีสามัญ (ทวิภวะราศี)  ได้แก่ราศี  มิถุน  กันย์  ธนู  มีน.

14.  ราศีคี่ ได้แก่ราศี  เมษ  มิถุน  สิงห์  ตุลย์  ธนู  กุมภ์.

15.  ราศีคุ่ ได้แก่ราศี  พฤษภ  กรกฎ  กันย์   พฤศจิก  มกร  มีน.

16.  ราศีฝ่ายสูง ได้แก่ราศี  กรกฎ  สิงห์  กันย์  ตุลย์  พฤศจิก  ธนู.

17.  ราศีฝ่ายต่ำ ได้แก่ราศี  กุมภ์  มีน  เมษ  พฤษภ  มิถุน  มกร.

18.  ศิโรทัยราศี ได้แก่ราศี  มิถุน  สิงห์  กันย์  ตุลย์  พฤศจิก  กุมภ์.

19.  ปรุสโตทัยราศี ได้แก่ราศี  เมษ  พฤษภ  กรกฎ  ธนู  มกร.

ศิโรทัยราศีเว้นราศีมิถุนมีกำลังเวลากลางวัน  ปรุสโตทัยราศีรวมทั้งราศีมิถุนด้วยมีกำลังเวลากลางคืน  ศีโรทัยราศีเรียกว่าราศีกลางวันด้วย  และปรุสโตทัยราศีเรียกว่ากลางคืนด้วย  ราศีมีนมีรูปปลาคู่เป็นที่หมายเรียกว่าอุภะโยทัยราศี.

20.  จัตุรโกณ ได้แก่ดาวเคราะห์ที่เป็น 1 – 4 – 7 -10 แก่กันหรือแก่ลัคนา.

21.  ตรีโกณ ได้แก่ดาวเคราะห์ที่เป็น 1 – 5 – 9  แก่กันหรือลัคนา

22.  ปันะปะระ (เรือนที่ให้ผลสำเร็จ)  ได้แก่เรือนที่ 2 – 5 - 8 – 11.


ข้อสำคัญขั้นต้นบางอย่าง 9


23.  อโภกะลิมาศ (เรือนตกต่ำ) ได้แก่เรือนที่ 3 – 6 – 9 12 เว้นเรือนที่ 9.

24.  อุปจัย ได้แก่เรือนที่ 3 – 6 -10 -11

25.  ดาวเคราะห์เจ้าราศี อาทิตย์เป็นเจ้าราศีสิงห์  จันทร์เป็นเจ้าราศีกรกฎ  อังคารเจ้าราศีเมษกับพฤศจิก  พุธเจ้าราศีมิถุนกับกันย์  พฤหัสบดีเจ้าราศีธนูกับมีนศุกร์เจ้าราศีพฤษภกับตุลย์  เสาร์เจ้าราศีมกรกับกุมภ์.

26.  มหาอุจจ์ อาทิตย์เป็นมหาอุจจ์ที่ 10° ในราศีเมษ จันทร์ 3° ในราศีพฤษภ  อังคาร 28° ในราศีมกร  พุธ 15°  ในราศีกันย์ พฤหัสบดี 5° ในราศีกรกฎ  ศุกร์ 27° ในราศีมีน  เสาร์ 20° ในราศีตุลย์.

27.  นิจจ์ เรือนที่ 7 หรือ 180° จากมหาอุจจ์เป็นเรือนนิจจ์หรือเรือนตกต่ำของดาวเคราะห์  เช่นอาทิตย์เป็นนิจจ์ที่ 10° ในราศีตุลย์  จันทร์เป็นนิจจ์ที่ 3° ในราศีพฤศจิก ฯลฯ

28.  ศุภเคราะห์บาปเคราะห์ พฤหัสบดี  ศุกร์  จันทร์เต็มดวง  พุธร่วม หรือมีดาวเคราะห์ดีเป็นเกณฑ์เป็นดาวศุภเคราะห์  อาทิตย์  อังคาร  เสาร์  จันทร์แรม  พุธร่วมหรือมีดาวร้ายเป็นเกณฑ์เป็นบาปเคราะห์  ตั้งแต่ขึ้น 10 ค่ำถึงแรม 9 ค่ำถือเป็นจันทร์เต็มดวง  เป็นเวลามีจันทร์มีกำลัง  ตั้งแต่แรม 10 ค่ำ  ถึงขึ้น 9 ค่ำ  ถือเป็นจันทร์แรมเป็นเวลาที่จันทร์อ่อน.

29.  เพศ พฤหัสบดี  อังคาร  อาทิตย์  เป็นบุรุษเพศ  ศุกร์  จันทร์  เป็นสตรีเพศ  พุธ  เสาร์  เป็นกระเทย.

30.  มูลตรีโกณ อาทิตย์เป็นมูลตรีโกณที่ 0 -20° ในราศีสิงห์  จันทร์ 4 -30° ในราศีพฤษภ  อังคาร 0- 12° ในราศีเมษ  พุธ 16 - 20° ในราศีกันย์  พฤหัสบดี 0 - 10° ในราศีธนู  ศุกร์ 0 - 5°  ในราศีตุลย์  เสาร์ 0 -20° ในราศีกุมภ์.

31.  เครือสัมพันธ์ของดาวเคราะห์ การเป็นมิตรกันของดาวเคราะห์ หมายถึงรัศมีของดาวเคราะห์ที่ร่วมกันได้แล้วทวีกำลังขึ้นถือว่าเป็นมิตรกัน  แต่ถ้าขัดขวางหรือลบล้างกันถือว่าเป็นศัตรูกันการเป็นมิตรกันมีทั้งมิตรถาวร  และมิตรชั่วคราว.

2

10                                                                   โหราวิทยา


เครือสัมพันธ์คงที่หรือถาวร

ดาวเคราะห์                          มิตร                                        กลาง                                      ศัตรู

อาทิตย์                                   จันทร์  อังคาร                      พุธ                                          เสาร์  ศุกร์

พฤหัสบดี

จันทร์                                     อาทิตย์  พุธ                           อังคาร  พฤหัสบดี               _ _ _

เสาร์  ศุกร์

อังคาร                                    พฤหัสบดี  จันทร์                เสาร์  ศุกร์                             พุธ

อาทิตย์

พุธ                                          อาทิตย์  ศุกร์                         เสาร์  อังคาร                         จันทร์

พฤหัสบดี

พฤหัสบดี                              อาทิตย์  จันทร์                      เสาร์                                       พุธ  ศุกร์

อังคาร

ศุกร์                                        พุธ  เสาร์                               อังคาร  พฤหัสบดี               จันทร์  อาทิตย์

เสาร์                                       พุธ  ศุกร์                                พฤหัสบดี                              อังคาร จันทร์ อาทิตย์

วิธีหาเครือสัมพันธ์ของดาวเคราะห์และราศี  มีอธิบายอย่างแจ่มแจ้งในตำรากำลังดาวเคราะห์และเรือนชะตา.

32.  การก (ตัวแทน)  ดาวเคราะห์หนึ่ง ๆ เป็นการกของเหตุการณ์บางอย่างในชีวิต  ทุกดาวเคราะห์เป็นเจ้าการครองและมีหน้าที่ตามความหมายนั้น ๆ .

ดาวเคราะห์                                          การก                                      ตัวแทนสำหรับ

อาทิตย์                                                   ปิตรุ                                        พ่อ

จันทร์                                                     มาตรุ                                      แม่

อังคาร                                                    ภราตรุ                                    พี่ น้องชาย

พุธ                                                          กรรม                                      ศาสนาหรืออาชีพ

ข้อสำคัญขั้นต้นบางอย่าง 11


ดาวเคราะห์                                          การก                                      ตัวแทนสำหรับ

พฤหัสบดี                                              ปุตระ                                     ลูก

ศุกร์                                                        กัลตระ                                   เมีย ผัว

เสาร์                                                       อายุร์                                       อายุ

ราหู                                                        มาตะมหะ                             ดา ยายหรือเครือญาติทาง

ฝ่ายแม่

เกตุ                                                         ปิตะมหะ                               ปู่ ย่าหรือเครือญาติทางฝ่ายพ่อ

33.  ภวะ ภวะเป็นความหมายตรงกับเรือน  จุดที่มีกำลังมากที่สุดในภวะหรือเรือนได้แก่มัธยภาคหรือจุดศูนย์กลางของเรือน  เรือนมี 12 เรือนแต่ละเรือนเป็นมูลฐานแสดงความสำคัญที่แน่นอนของเหตุการณ์และพฤติการณ์ที่อาจเกิดขึ้นได้.

ภวะ                                        เรือนที่                   เจ้าการหรือให้ความหมายสำหรับ

ตนุภวะ                                      1                        ตัวตน รูปลักษณะ การสร้างสรรค์.

ธนะภวะ                                   2                        ทรัพย์สิน  ครอบครัว  ความคิดเห็น

เหตุของความตาย.

ภราตรุภวะ                                3                        ปัญญา ความรู้ พี่น้องชายและหญิง.

ศุขาภวะ                                     4                        ความสุขทั่วไป  แม่  การเรียน

ยานพาหนะ.

ปุตระภวะ                                 5                        ลูก  เกียรติ  ชื่อเสียง.

ศัตรูภวะ                                    6                        ศัตรู  โรค  หนี้สิน  ความระทมทุกข์.

กัลป์ตระภวะ                            7                        เมีย  ผัว  การสังเกต  ไหวพริบ  ความตาย.

อายุรภวะ                                   8                        อายุ  การเสียสละ.


12                                                                   โหราวิทยา


ภวะ                                        เรือนที่                   เจ้าการหรือให้ความหมายสำหรับ

ธรรมภวะ                                  9                        ศาสนา  ครูอาจารย์  กุศลกรรม  การเดิน

ทาง  พ่อ.

กรรมภวะ                                10                         อาชีพ  การงาน  ความรู้  ปรัชญา.

ลาภะภวะ                                11                         การได้  รายได้  ผลได้.

วรัยภวะ                                   12                         ความสูญเสีย  ความหลุดพ้น.

34.  มาตราโหราศาสตร์ ดาวเคราะห์และเรือนชะตาที่จะมีกำลังแรงและอ่อนนั้น  เกิดจากเหตุต่าง ๆ กัน  กำลังจากเหตุนี้คำนวณประมาณได้โดยมาตรานี้ :

60 ประรูปะ  เป็น 1 วิรูปะ  60 วิรูปะ เป็น 1 รูปะ  1  รูปะ  เรียกว่า 1 ษัษฏิด้วย.

ความหมายของศัพท์ดาราศาสตร์

35.  แกนและขั้นของพิภพ (Asis and polo) แกนของพิภพ  เป็นเส้นตั้งผ่านศูนย์กลางพิภพซึ่งหมุนจากตะวันตกไปตะวันออก  โดยอาการเคลื่อนไหวที่เป็นปรกติอยู่เสมอ  ขั้นของพิภพคือสถานที่ที่ต้นหรือปลายสุดของแกนของทั้ง 2 ข้างบรรจบกับพื้นพิภพ  เรียกว่าขั้วเหนือและขั้วใต้.

36.  วิศวเรขา (Earths Fqvulor) วิศวเรขาหรือเส้นศูนย์สูตรเป็นเส้นสมมุติโอบรอบพิภพอยู่กึ่งกลางระหว่างขั้วพิภพทั้ง 2 เส้นศูนย์สูตรแบ่งพื้นพิภพออกเป็น (Hemispheres) ภาพหรือซีกโลกเหนือและภาพหรือซีกโลกใต้.

37.  อักษางศ (Latitude)  อักษางศหรือวิถันดร (ระยะรุ้ง) เป็นที่หมายกำหนดวัดเป็นมุมเหนือพื้นปฐพีตามแนวเส้นผ่านขั้วพิภพ  (Meridian)  กะเอาเป็นระยะ  องศา  ลิปดา  และพิลิปดาจาก 0 ถึง 90 องศา เหนือหรือใต้สุดแท้แต่ส่วนของเส้นนั้น  อยู่ในเขตภาคเหนือหรือใต้ของเส้นศูนย์สูตร.

38.  เรขางศ (Longitude)  เรขางศหรือทีฆันดร (ระยะแว้ง) เป็น

ข้อสำคัญขั้นต้นบางอย่าง 13


ที่หมายกำหนดระยะระหว่างตะวันออกหรือตะวันตกของเส้นผ่าขั้นพิภพ  ที่ตำบลกรีนิช (Greenwich) ในประเทศอังกฤษเส้นนี้มีระยะเขตเป็นตะวันออกหรือตะวันตกของกรีนิชสุดแท้แต่สถานที่  ทั้งได้กะเวลาไว้ในอัตรา 24 ชั่วโมงต่อ 360 องศา หรือ 4 นาที ต่อ 1 องศา.

39.  นาฑิวฤตต์ (Celestial Equator) นาฑิวฤตต์หรือศูนย์สูตรหรือศูนย์กลางของเวหา  นาฑิวฤตต์เป็นวงกลมใหญ่ของภาคเวหามีกำหนดที่หมายไม่จำกัดแน่นอนของพื้นราบจากศูนย์สูตรของปฐพี.

40.  กเษปะ (Celestial Latitude) กเษปะหรือวิถันดร (ระยะรุ้ง) ของเวหา  เป็นระยะระหว่างมุมของเวหาภาคจากสุริยวิถี.

41.  กรานติ (Declination)  กรานติ คือ อาการที่ดาวเคราะห์จรเป็นมุมเยื้องหรือปัดไปจากทางขนาดของสุริยวิถีไปทางเหนือหรือใต้  กรานติเป็นมุมระหว่างเวหาภาคจากศูนย์สูตรหรือศูนย์กลางของเวหา  เข้าใกล้หรือออกห่างเท่าไรสุดแท้แต่ระยะกรานติของดาวเคราะห์